Programmable logic controller หรือ PLC
โครงสร้างภายในของ Programmable logic controller
รูปที่ 1.1
Programmable
Logic Controller เครื่องควบคุมเชิงตรรกที่สามารถโปรแกรมได้ PLC
: Programmable Logic Controller (มีต้นกำ
เนิดจากประเทศสหรัฐอเมริกา) เป็นเครื่อง
ควบคุมอัตโนมัติในโรงงานอุตสาหกรรม
ที่สามารถจะโปรแกรมได้ ถูกสร้างและพัฒนาขึ้นมาเพื่อทดแทนวงจรรีเลย์
อันเนื่องมาจากความต้องการที่อยากจะได้เครื่องควบ
คุมที่มีราคาถูกสามารถใช้งานได้อย่างเอนกประสงค์
และสามารถเรียนรู้การใช้งานได้ง่าย
ข้อแตกต่างระหว่าง PLC กับ COMPUTER
1. PLC ถูกออกแบบ และสร้างขึ้นเพื่อให้ทนต่อสภาพแวดล้อมในโรงงานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ
2. การโปรแกรมและการใช้งาน PLC ทำได้ง่ายไม่ยุ่งยากเหมือนคอมพิวเตอร์ทั่วไป PLC มีระบบการตรวจสอบตัวเองตั้งแต่ช่วงติดตั้ง
จนถึงช่วงการใช้งานทำให้การบำรุงรักษาทำได้ง่าย
3. PLCถูกพัฒนาให้มีความสามารถในการตัดสินใจสูงขึ้นเรื่อยๆทำให้การใช้งานสะดวกขณะที่วิธีใช้คอมพิวเตอร์ยุ่งยากและซับซ้อนขึ้น
1. PLC ถูกออกแบบ และสร้างขึ้นเพื่อให้ทนต่อสภาพแวดล้อมในโรงงานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ
2. การโปรแกรมและการใช้งาน PLC ทำได้ง่ายไม่ยุ่งยากเหมือนคอมพิวเตอร์ทั่วไป PLC มีระบบการตรวจสอบตัวเองตั้งแต่ช่วงติดตั้ง
จนถึงช่วงการใช้งานทำให้การบำรุงรักษาทำได้ง่าย
3. PLCถูกพัฒนาให้มีความสามารถในการตัดสินใจสูงขึ้นเรื่อยๆทำให้การใช้งานสะดวกขณะที่วิธีใช้คอมพิวเตอร์ยุ่งยากและซับซ้อนขึ้น
โครงสร้างภายนอกของ Programmable logic controller
รูปที่ 1.2
ถ้ากล่าวถึงการใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์เพื่อใช้งานจริงแล้ว
แทบทุกคนจะประสบกับปัญหาการใช้งาน ไม่รู้ว่าจะใช้คำสั่งใดดี
ถึงจะทำให้ได้ผลลัพธ์เป็นดังเราต้องการ เพราะไม่ว่าจะใช้ภาษาแอสเซมบี้
หรือภาษาที่สูงมาอีกระดับ เช่นภาษาซี หรือภาษาปาสคาล หรือภาษาเบสิก ก็ตาม
ก็ยังสร้างงานด้วยความยุ่งยากอยู่ดี และยิ่งในงานควบคุมอุตสาหกรรม
ความรวดเร็วในการใช้งาน แก้ไข ตรวจสอบ ยิ่งเป็นสิ่งจำเป็น
ด้วยข้อยุ่งยากในการใช้งานภาษาข้างต้น จึงเกิดความคิดว่า น่าจะมีภาษาอะไรก็ได้ที่ง่ายต่อการใช้งาน ทำให้เกิดภาษาหนึ่งขึ้นมา นั่นก็คือภาษาแลดเดอร์ (Ladder) โดยภาษาแลดเดอร์นั้น ขั้นต้นจะเลียนแบบวงจรซีเคว้นของรีเลย์ ทำให้ไดอะแกรมของแลดเดอร์เขียนตามไดอะแกรมของวงจรรีเลย์ไปด้วย และทางด้านฮาร์ดแวร์ก็ออกแบบให้มีความทนทาน ต่อสัญญานรบกวนต่างๆ และเป็นโมดูลที่สะดวกต่อการใช้งานยิ่งขึ้น โดยใช้ชื่อว่า PLC(Programmable Logic Controller)
ในเมืองไทยมีการใช้งานPLC มานานพอสมควร เิริ่มแรกก็ติดมากับเครื่องจักรที่สั่งมาจากต่างประเทศ ระยะหลังจึงค่อยๆแพร่หลายมากยิ่งขึ้น เนื่องจากใช้งานง่ายและสะดวกในการแก้ไขวงจร ไม่ต้องแก้ไขวงจรทางฮาร์ดแวร์มากนัก หรือบางครั้งไม่ต้องแก้ไขเลย
แต่อย่างไรก็ตาม PLC ยังเป็นเครื่องมือที่มีราคาสูงอยู่พอสมควร ทำให้ไม่สะดวกในการหามาเรียนรู้ หรือเรียนรู้ได้แต่ในการไปประยุกต์ใช้งานจริงอาจทำไม่ได้ เนื่องจากอาจมีราคาแพงไปสำหรับงานบางงาน และนี้จึงถือกำเนิด PLC nurotec seri N สายพันธ์ไทย คุณภาพระดับโลก แต่ราคาไม่แพง จะใช้เพื่อฝึกเขียนโปรแกรมหรือใช้งานจริงก็ได้
ด้วยข้อยุ่งยากในการใช้งานภาษาข้างต้น จึงเกิดความคิดว่า น่าจะมีภาษาอะไรก็ได้ที่ง่ายต่อการใช้งาน ทำให้เกิดภาษาหนึ่งขึ้นมา นั่นก็คือภาษาแลดเดอร์ (Ladder) โดยภาษาแลดเดอร์นั้น ขั้นต้นจะเลียนแบบวงจรซีเคว้นของรีเลย์ ทำให้ไดอะแกรมของแลดเดอร์เขียนตามไดอะแกรมของวงจรรีเลย์ไปด้วย และทางด้านฮาร์ดแวร์ก็ออกแบบให้มีความทนทาน ต่อสัญญานรบกวนต่างๆ และเป็นโมดูลที่สะดวกต่อการใช้งานยิ่งขึ้น โดยใช้ชื่อว่า PLC(Programmable Logic Controller)
ในเมืองไทยมีการใช้งานPLC มานานพอสมควร เิริ่มแรกก็ติดมากับเครื่องจักรที่สั่งมาจากต่างประเทศ ระยะหลังจึงค่อยๆแพร่หลายมากยิ่งขึ้น เนื่องจากใช้งานง่ายและสะดวกในการแก้ไขวงจร ไม่ต้องแก้ไขวงจรทางฮาร์ดแวร์มากนัก หรือบางครั้งไม่ต้องแก้ไขเลย
แต่อย่างไรก็ตาม PLC ยังเป็นเครื่องมือที่มีราคาสูงอยู่พอสมควร ทำให้ไม่สะดวกในการหามาเรียนรู้ หรือเรียนรู้ได้แต่ในการไปประยุกต์ใช้งานจริงอาจทำไม่ได้ เนื่องจากอาจมีราคาแพงไปสำหรับงานบางงาน และนี้จึงถือกำเนิด PLC nurotec seri N สายพันธ์ไทย คุณภาพระดับโลก แต่ราคาไม่แพง จะใช้เพื่อฝึกเขียนโปรแกรมหรือใช้งานจริงก็ได้
คุณสมบัติ
1. มีอินพุต 16 ตัว
|
2. มีเอ้าพุตแบบรีเลย์ 8ตัว หน้าคอนแทค10 A.
|
3.
Supply มี2รุ่น คือใช้ไฟ 12 Vdc และ 24 Vdc
|
4. จอแสดงผลมีไฟมองในที่มืดได้
|
5
.มี 3โหมด คือ PROGRAM , RUN , MONITOR
ในโหมด MONITOR สามารถดูค่าสถานะต่างๆ |
6. มีฟังชั่นทดสอบการทำงานของรีเลย์เอ้าพุต
|
7.บอร์ดขนาด 13.1 x
11.4 cm
|
ส่วนฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของ PLC ก็คล้ายกับไมโครคอมพิวเตอร์ย่อส่วนนั่นเอง
คือมีคีย์บอร์ด จอแสดงผล หน่วยประมวลผล หน่วยความจำ
ภาคติดต่ออินพุตและภาคติดต่อเอ้าพุต
โปรแกรมแลดเดอร์
ภาษาแลดเดอร์เป็นภาษาเชิงรูปภาพ
ประกอบไปด้วย แลดเดอร์ไดอะแกรมเพื่อไว้ดู และคำสั่งแลดเดอร์เพื่อไว้สั่งงาน
ถูกออกแบบมาเพื่อให้ง่ายต่อการใช้งาน แต่เดิมนั้นออกแบบมาแทนวงจรรีเลย์
ดังนั้นแลดเดอไดอะแกรมจะอ้างอิงวงจรซีเคว้นของรีเลย์เป็นส่วนใหญ่
ต่อมามีการพัฒนาฟังชั่นให้สะดวกแ่ก่การใช้งานมากขึ้น แต่จะเป็น PLC ในรุ่นที่สูงๆ
แต่ในการใช้งานจริงนั้น ถ้าไม่ซับซ้อนจนเกินไป
ฟังชั่นพื้นฐานก็เพียงพอต่อการใช้งาน ซึ่งฟังชั่นพื้นฐานดังนี้
1.LD
|
เป็นการรับค่าเบื้องต้นของบล็อก
|
2.OR
|
การ or
หรือ การต่อแบบขนาน
|
3.AND
|
การ and
หรือ การต่อแบบอนุกรม
|
4.NOT
|
การ not
หรือ การกลับค่า
|
5.OUT
|
เอ้าพุตแบบรีเลย์
|
6.TIM
|
เอ้าพุตแบบไทเมอร์หรือตัวจับเวลา
|
7.CNT
|
เอ้าพุตแบบเค้าเตอร์หรือตัวนับ
|
8.KEEP
|
เอ้าพุตแบบรีเลย์แบบมีแลตช์หรือค้างสถานะ
|
9.END
|
คำสั่งจบโปรแกรม
|
|
|
ภาษาแลดเดอร์เป็นภาษาเชิงรูปภาพ
ประกอบไปด้วย แลดเดอร์ไดอะแกรมเพื่อไว้ดู และคำสั่งแลดเดอร์เพื่อไว้สั่งงาน
ถูกออกแบบมาเพื่อให้ง่ายต่อการใช้งาน แต่เดิมนั้นออกแบบมาแทนวงจรรีเลย์
ดังนั้นแลดเดอไดอะแกรมจะอ้างอิงวงจรซีเคว้นของรีเลย์เป็นส่วนใหญ่
ต่อมามีการพัฒนาฟังชั่นให้สะดวกแ่ก่การใช้งานมากขึ้น แต่จะเป็น PLC ในรุ่นที่สูงๆ
แต่ในการใช้งานจริงนั้น ถ้าไม่ซับซ้อนจนเกินไป
ฟังชั่นพื้นฐานก็เพียงพอต่อการใช้งาน ซึ่งฟังชั่นพื้นฐานดังนี้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น